ข้อสอบวิจัยทางการศึกษา/ในชั้นเรียน 20 ข้อ
1. การวิจัยในชั้นเรียนจัดเป็นการวิจัยรูปแบบใด
ก. การวิจัยเชิงปริมาณ
ข. การวิจัยเชิงปฏิบัติการ
ค. การวิจัยเพื่อสร้างทฤษฎี
ง. การวิจัยเพื่อพัฒนาเครื่องมือ*
2. “การพัฒนาพฤติกรรมการอ่านของนักเรียนชั้น ป. 6” ข้อใดคือตัวแปรตาม
ก. เพศ
ข. ระดับชั้น
ค. วิธีการพัฒนา
ง. พฤติกรรมการอ่าน*
3. จากข้อ 2 ข้อใดไม่ควรกำหนดนิยามศัพท์เฉพาะมากที่สุด
ก. นักเรียน
ข. นวัตกรรม
ค. วิธีการพัฒนา*
ง. พฤติกรรมการอ่าน
4. การคาดคะเนคำตอบของการวิจัยอย่างมีเหตุผล ตรงกับข้อใด
ก. ความมุ่งหมายการวิจัย
ข. สมมุติฐานการวิจัย*
ค. การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัย
ง. การอภิปรายผลการวิจัย
5. ข้อใดไม่ใช่จุดมุ่งหมายของการวิจัยในชั้นเรียน
ก. แก้ปัญหาผู้เรียน
ข. หาสาเหตุของพฤติกรรม
ค. พัฒนาผู้เรียน
ง. ประเมินตัดสินผู้เรียน*
6. “ด.ช.แดงขาดเรียนบ่อย ๆ” ควรตั้งคำถามการวิจัยว่าอย่างไรจึงจะเหมาะสมที่สุด
ก. ทำไม ด.ช.แดงจึงขาดเรียน
ข. จะแก้ปัญหาการขาดเรียนของด.ช.แดงอย่างไร*
ค. ห้องเรียนมีปัญหาอะไร ด.ช.แดงจึงขาดเรียน
ง. ทางบ้าน ด.ช.แดงมีปัญหาอะไร จึงต้องขาดเรียน
7. “ด.ช.ดำไม่ชอบทำงานรวมกลุ่มกับเพื่อน” ควรใช้วิธีการใดในการรวบรวมข้อมูลเพื่อแก้ปัญหา
ก. การทดสอบ
ข. การสังเกต
ค. การสัมภาษณ์*
ง. การใช้แบบสอบถาม
8. “ปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนต่ำเนื่องจากนักเรียนไม่เข้าใจบทเรียน” ควรออกแบบการวิจัยเพื่อแก้ปัญหาในลักษณะใด
ก. เชิงทดลองพัฒนาสื่อนวัตกรรม*
ข. เชิงสำรวจหาสาเหตุปัญหา
ค. เชิงปริมาณอ้างอิงทฤษฎีการเรียนรู้
ง. เชิงปฏิบัติการอบรมพัฒนาการเรียนรู้
9. “ความพึงพอใจของครูต่อการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โรงเรียนอนุบาลดำรงราชานุสรณ์” หัวข้อวิจัยนี้ควรใช้เครื่องมือชนิดใดในการเก็บรวบรวมข้อมูล
ก. แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า*
ข. แบบทดสอบอิงเกณฑ์
ค. แบบสังเกตพฤติกรรม
ง. แบบสัมภาษณ์
10. ข้อใดไม่ใช่การหาคุณภาพของแบบทดสอบ
ก. ความเที่ยงตรง
ข. ความเชื่อมั่น
ค. อำนาจจำแนก
ง. ความเป็นสากล*
11. “การวิเคราะห์ความแตกต่างคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนหลังเรียนด้วยชุดฝึกของนักเรียนชั้น ป.5 โรงเรียนโคกอีหลวย จำนวน 40 คน” ควรใช้สถิติใดวิเคราะห์ความแตกต่าง
ก. t-test *
ข. ANOVA
ค. Z-test
ง. F-test
12. “เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญของครู โรงเรียนอนุบาลดำรงราชานุสรณ์” ความมุ่งหมายของการวิจัยนี้ ควรใช้สถิติข้อใดในการนำเสนอ
ก. ค่าเฉลี่ย และร้อยละ*
ข. การวิเคราะห์ความแปรปรวน
ค. การทดสอบที
ง. การทดสอบไคว์สแควร์
13. การอภิปรายผลการวิจัยควรจัดไว้ในส่วนใด
ก. บทที่ 1
ข. บทที่ 3
ค. บทที่ 4
ง. บทที่ 5*
14. “การศึกษาการอ่านของนักเรียนชั้น ป.2 จังหวัดศรีสะเกษ” หัวข้อวิจัยนี้ควรเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีใด
ก. เลือกแบบเจาะจง
ข. สุ่มแบบอย่างง่าย
ค. สุ่มแบบแบ่งชั้น
ง. สุ่มแบบหลายขั้นตอน*
15. “การศึกษาการอ่านของนักเรียนโรงเรียนอนุบาลดำรงราชานุสรณ์ จังหวัดศรีสะเกษ” หัวข้อวิจัยนี้ควรเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีใด
ก. เลือกแบบเจาะจง
ข. สุ่มแบบอย่างง่าย
ค. สุ่มแบบแบ่งชั้น
ง. สุ่มแบบหลายขั้นตอน*
16. ข้อใดไม่ใช่วิธีการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง
ก. ใช้การคาดคะเน *
ข. ใช้สูตรคำนวณ
ค. ใช้ตารางสำเร็จรูป
ง. ใช้เกณฑ์ร้อยละ
17. ค่าอำนาจจำแนกของแบบวัดควรมีค่าเท่าใด
ก. .05 – 1.00
ข. .20 – 1.00 *
ค. .05-.80
ง. .20-.80
18. ความสำคัญของการวิจัยควรนำเสนอในส่วนใด
ก. บทที่ 1 *
ข. บทที่ 3
ค. บทที่ 4
ง. บทที่ 5
19. ข้อใดไม่ใช่เครื่องมือในการวิจัย
ก. แบบสอบถาม
ข. แบบสังเกตแบบไม่มีโครงสร้าง
ค. นวัตกรรม
ง. โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS*
20. ข้อใดกล่าวถึงการวิจัยในชั้นเรียนตาม พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ได้อย่างถูกต้องที่สุด
ก. ครูทุกคนต้องดำเนินการวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาตนเอง
ข. การวิจัยในชั้นเรียนเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนการสอน*
ค. การวิจัยในชั้นเรียนเป็นเครื่องประเมินวิทยฐานะครู
ง. ครูต้องเชี่ยวชาญในการวิจัยในชั้นเรียน
1. การวิจัยในชั้นเรียนจัดเป็นการวิจัยรูปแบบใด
ก. การวิจัยเชิงปริมาณ
ข. การวิจัยเชิงปฏิบัติการ
ค. การวิจัยเพื่อสร้างทฤษฎี
ง. การวิจัยเพื่อพัฒนาเครื่องมือ*
2. “การพัฒนาพฤติกรรมการอ่านของนักเรียนชั้น ป. 6” ข้อใดคือตัวแปรตาม
ก. เพศ
ข. ระดับชั้น
ค. วิธีการพัฒนา
ง. พฤติกรรมการอ่าน*
3. จากข้อ 2 ข้อใดไม่ควรกำหนดนิยามศัพท์เฉพาะมากที่สุด
ก. นักเรียน
ข. นวัตกรรม
ค. วิธีการพัฒนา*
ง. พฤติกรรมการอ่าน
4. การคาดคะเนคำตอบของการวิจัยอย่างมีเหตุผล ตรงกับข้อใด
ก. ความมุ่งหมายการวิจัย
ข. สมมุติฐานการวิจัย*
ค. การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัย
ง. การอภิปรายผลการวิจัย
5. ข้อใดไม่ใช่จุดมุ่งหมายของการวิจัยในชั้นเรียน
ก. แก้ปัญหาผู้เรียน
ข. หาสาเหตุของพฤติกรรม
ค. พัฒนาผู้เรียน
ง. ประเมินตัดสินผู้เรียน*
6. “ด.ช.แดงขาดเรียนบ่อย ๆ” ควรตั้งคำถามการวิจัยว่าอย่างไรจึงจะเหมาะสมที่สุด
ก. ทำไม ด.ช.แดงจึงขาดเรียน
ข. จะแก้ปัญหาการขาดเรียนของด.ช.แดงอย่างไร*
ค. ห้องเรียนมีปัญหาอะไร ด.ช.แดงจึงขาดเรียน
ง. ทางบ้าน ด.ช.แดงมีปัญหาอะไร จึงต้องขาดเรียน
7. “ด.ช.ดำไม่ชอบทำงานรวมกลุ่มกับเพื่อน” ควรใช้วิธีการใดในการรวบรวมข้อมูลเพื่อแก้ปัญหา
ก. การทดสอบ
ข. การสังเกต
ค. การสัมภาษณ์*
ง. การใช้แบบสอบถาม
8. “ปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนต่ำเนื่องจากนักเรียนไม่เข้าใจบทเรียน” ควรออกแบบการวิจัยเพื่อแก้ปัญหาในลักษณะใด
ก. เชิงทดลองพัฒนาสื่อนวัตกรรม*
ข. เชิงสำรวจหาสาเหตุปัญหา
ค. เชิงปริมาณอ้างอิงทฤษฎีการเรียนรู้
ง. เชิงปฏิบัติการอบรมพัฒนาการเรียนรู้
9. “ความพึงพอใจของครูต่อการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โรงเรียนอนุบาลดำรงราชานุสรณ์” หัวข้อวิจัยนี้ควรใช้เครื่องมือชนิดใดในการเก็บรวบรวมข้อมูล
ก. แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า*
ข. แบบทดสอบอิงเกณฑ์
ค. แบบสังเกตพฤติกรรม
ง. แบบสัมภาษณ์
10. ข้อใดไม่ใช่การหาคุณภาพของแบบทดสอบ
ก. ความเที่ยงตรง
ข. ความเชื่อมั่น
ค. อำนาจจำแนก
ง. ความเป็นสากล*
11. “การวิเคราะห์ความแตกต่างคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนหลังเรียนด้วยชุดฝึกของนักเรียนชั้น ป.5 โรงเรียนโคกอีหลวย จำนวน 40 คน” ควรใช้สถิติใดวิเคราะห์ความแตกต่าง
ก. t-test *
ข. ANOVA
ค. Z-test
ง. F-test
12. “เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญของครู โรงเรียนอนุบาลดำรงราชานุสรณ์” ความมุ่งหมายของการวิจัยนี้ ควรใช้สถิติข้อใดในการนำเสนอ
ก. ค่าเฉลี่ย และร้อยละ*
ข. การวิเคราะห์ความแปรปรวน
ค. การทดสอบที
ง. การทดสอบไคว์สแควร์
13. การอภิปรายผลการวิจัยควรจัดไว้ในส่วนใด
ก. บทที่ 1
ข. บทที่ 3
ค. บทที่ 4
ง. บทที่ 5*
14. “การศึกษาการอ่านของนักเรียนชั้น ป.2 จังหวัดศรีสะเกษ” หัวข้อวิจัยนี้ควรเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีใด
ก. เลือกแบบเจาะจง
ข. สุ่มแบบอย่างง่าย
ค. สุ่มแบบแบ่งชั้น
ง. สุ่มแบบหลายขั้นตอน*
15. “การศึกษาการอ่านของนักเรียนโรงเรียนอนุบาลดำรงราชานุสรณ์ จังหวัดศรีสะเกษ” หัวข้อวิจัยนี้ควรเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีใด
ก. เลือกแบบเจาะจง
ข. สุ่มแบบอย่างง่าย
ค. สุ่มแบบแบ่งชั้น
ง. สุ่มแบบหลายขั้นตอน*
16. ข้อใดไม่ใช่วิธีการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง
ก. ใช้การคาดคะเน *
ข. ใช้สูตรคำนวณ
ค. ใช้ตารางสำเร็จรูป
ง. ใช้เกณฑ์ร้อยละ
17. ค่าอำนาจจำแนกของแบบวัดควรมีค่าเท่าใด
ก. .05 – 1.00
ข. .20 – 1.00 *
ค. .05-.80
ง. .20-.80
18. ความสำคัญของการวิจัยควรนำเสนอในส่วนใด
ก. บทที่ 1 *
ข. บทที่ 3
ค. บทที่ 4
ง. บทที่ 5
19. ข้อใดไม่ใช่เครื่องมือในการวิจัย
ก. แบบสอบถาม
ข. แบบสังเกตแบบไม่มีโครงสร้าง
ค. นวัตกรรม
ง. โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS*
20. ข้อใดกล่าวถึงการวิจัยในชั้นเรียนตาม พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ได้อย่างถูกต้องที่สุด
ก. ครูทุกคนต้องดำเนินการวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาตนเอง
ข. การวิจัยในชั้นเรียนเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนการสอน*
ค. การวิจัยในชั้นเรียนเป็นเครื่องประเมินวิทยฐานะครู
ง. ครูต้องเชี่ยวชาญในการวิจัยในชั้นเรียน